วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

พิพิธภัณฑ์อูปคำ

ประวัติการตั้งพิพิธภัณฑ์อูบคำ

        เนื่องจากประมาณ 20 กว่าปีที่ผ่านมา อาจารย์จุลศักดิ์ สุริยะไชย ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์อูบคำได้พบเห็นชาวต่างชาติเข้ามาที่อำเภอแม่สาย จังหวัดดเชียงราย ได้มาเสาะแสวงหาและกว้านซื้อของเก่า อาทิเช่นผ้าเก่า เครื่องเขิน ไปเป็นจำนวนมาก อาจารย์จึงได้คิดขึ้นมาว่าถ้าไม่มีใครเก็บสะสมของพวกนี้ไว้ คงจะต้องตกไปเป็นสมบัติของชาวต่างชาติจนหมดสิ้น และอีกไม่นานสมบัติเหล่านี้คงจะหมดไปจากประเทศไทย อนุชนรุ่นหลังของเราจะศึกษาค้นคว้าถึงอดีตบรรพบุรุษ คงต้องตามไปศึกษาศิลปวัฒนธรรมของเราเองจากต่างประเทศ ดังนั้น อาจารย์จึงได้เริ่มสะสมข้าวของเครื่องใช้ของชาวล้านนา อาจารย์ฯได้ทุ่มเททั้งเวลา ทั้งแรงกายและแรงใจและทุนทรัพย์ เสาะแสวงหาข้าวของเครื่องใช้ไม้สอยของเจ้าฟ้า เจ้านาง เครื่องเขิน เครื่องเงิน ของใช้ในราชสำนักล้านนา อันทรงคุณค่าและประเมินมิได้ แล้วได้เปิดเป็นพิพิธภัณฑ์อูบคำไว้ให้เป็นสมบัติของชาติเพื่อให้ อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาค้นคว้าถึงความเป็นมาของบรรพบุรุษของรานั้นมีศิลปะว ัฒนธรรมภูมิปัญญาว่ายิ่งใหญ่และน่าภาคภูมิใจมิได้ด้อยกว่าชนชาติใดในโลก
         ศิลปวัฒนธรรมของชาวล้านนา ได้มีการสั่งสมมานับแต่อดีตนับเป็นมรดก สมบัติอันล้ำค่าที่สืบต่อสายธารแห่งชีวิตมีทั้งสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมอันก่อให้เกิดเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเองซึ่งรู้กันทั่วไปว่า วัฒนธรรมล้านนาไทย แม้ว่าในปัจจุบันกระแสการเปลี่ยนแปลงทางเศรษกิจ สังคม และ เทคโนโลยีจะเข้ามามีอิทธิพลต่อวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนในท้อง ถิ่นนี้เช่นเดียวกับภิภาคอื่นๆ จนทำให้วัฒนธรรมอันดั้งเดิมอันดีงามบางอย่างต้องสูญเสียไปท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ทว่าด้วยสายเลือดและจิตวิญญาณที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษของชาวล้านนาทาง พิพิธภัณฑ์อูบคำจึงได้ทุ่มเทและสะสมศิลปะวัตถุและศิลปวัฒนธรรมเหล่านี้ให้แก่ชนรุ่น หลังได้ช่วยกันอนุรักษ์และชื่นชมในคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมของเราชาวล้านนาและให้ได้ ตระหนักถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมที่ี่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์สืบทอดมาอย่างน่าภาคภูมิใจ
Image          คำว่า อูบคำ เป็นชื่อที่มาจากอูบทองคำที่นายจุลศักดิ์ฯ ได้รับเป็นมรดกตกทอดจากบิดา ซึ่งสือเชื้อสายจากพระยาสุลวฤาชัย (หนานทิพย์ช้าง) เจ้านครลำปาง (พ.ศ.2275-2301) และใช้ชื่อดังกล่าวต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน

Relics of the ancient world at Oub Kham Museum

Alas, it is impossible to mention here all the fine pieces and Lanna's rich culture found in the museum.

Chiangrai, bordering Myanmar to the north and Laos to the northeast, is Thailand's highest northern province at 580 meters above sea level. The mountainous region of Chiangrai is the favorit destination of those who like nature at its finest.

The province offers many tourist attractions but Chiangrai is significantly an agreeable place for couturatis who watn to experience the hilltribepeople's rich culture to the fullest. Oub Kham Museum, Chiangrai's premiere museum, illustrates the lavish culture and art of the Lanna people. The Lanna kingdoms were the north of Thailand, the northwest of Laos,, parts of the northeast Burma, parts of southwest China and some areas in Dien Bien Fu in Vietna,.

The interesting places for sightseeing in Chiangrai are Wat Phra Singh, Wat Phra Kaeo, Chiangsaen National Museum, Wat Phrathat Chedi Luang, Sobruak, King Mengrai the Great's Monument, Hilltribe Developments and Welfare Center, Phrathat Doi Tung, Wiang Kalong Ruins and the Gllden Triangle. As the list suggests, ond day is not enough to visit thest places and it would take a tourist at least three days to complete his itinerary.

The Oub Kham Museum can reduce your travel time with the objet d'art and interesting handiwork of the Lanna people - manifesting their craftsmanship and artistic nature - put together in one roof.

The museum features the Lanna kings' regalia and royal costumes during the 15th century. Considered the finest museum in Asia, Oub Kham Museum has an assortment of rare and beautiful antique pieces well-preserved through time. The colonial powers collected an enormous amount of thest artifacts from the different territories they occupied. Most of these collections became the foundation of the ethnographical museums in the western world.

More art pieces were added to create a compreehensive collection, creating more awareness about the Lanna's past. In 1976, the Royal Tropical Institute of Amsterdam sent an expedition to the northern part of Thailand. They collected relics belonging to the Lanna culture and those of the people who lived in the mountains. These artifacts recorded the way people lived during that era.

There was little awareness among Thai people about their heritage. Khun Julasak  Suriyachai, a teacher and an art connoisseur made a big difference. Khun Julasak realized that soon the heritage of northern Thailand only could be seen baroad. Hence, he started collecting northern Thailand's art pieces and founded the Lanna Heritage Conservation Center, the seed of the present Oub Kham Museum. His collection includes valuable artifacts from the Lanna kingdoms. The people of thest kingdoms developed a similar culture whish one might call the 'Culture of the Dhamma Letters'.

The similarities are apparent unit today. Apart from the ritual objects, the collection mainly consists of lacquerwares, silver jewelries and royal court costumes.

Khun Julasak believes that these valuble pieces show that the Lanna people had a rich civelization making this meseum a vital center for further study of the Lanna people's culture.

The 'Oub Kham', a golden bowl used by members of the royalty, is a masterpiece; so is the golden throne of Chiang Tung (the present Keng Tung in the easternmost Shan State in Burma). Lanna people also have their own music as a tourist will discover from a visit in the museum. Buildings built based on Lanna architecture are also located in museum's garden. Alas, it is impossible to mention here all the fine pieces and Lanna's rich culture found in the museu,.

The museu, is open daily from 8 a.m. to 8 p.m. It is located near Den Ha market and military camp. A public transport fare of Bt20 to Bt30 from the center of the town will take you to Oub Kham Museu,. If you want to participate in the museum's conservation, contact the Lanna Heritage Conservation Center, Chiangrai, tel. no. (053) 713394

โบราณวัตถุที่สำคัญภายในพิพิธภัณฑ์อูบคำ
           สิ่งเหล่านี้ล่วนมีคุณค่าและความสวยงาม อ่อนช้อย ปราณีตในการทำขึ้นมา หาดูได้เพียงแห่งเดียวในโลกเท่านั้น


พระราชบัลลังก์ของกษัตริย์ไตเหนือ สมบูรณ์ อ่อนช้อย งดงาม ยิ่งใหญ่ ระดับแนวหน้าของเอเชีย








พระพุทธรูปล้านนาศิลปเชียงแสน เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของล้านนา ซึ่งสร้างขึ้นด้วยศรัทธาปสาธะเลื่อมใสในพระบวรพุทธศาสนา




ผ้าทอในราชสำนัก ที่ประดิษฐ์ ถักทอด้วยแรงกาย ด้วยความละเอียดอ่อนทางด้านกรรมวิธีการทอ มาเป็นผ้าทอลวดลายสวยงาม






เครื่องเงิน - เครื่องใช้ในราชสำนัก ที่ทำจากเงินมากมายหลายรูปแบบ แตกต่างกันไปตามลักษณะการใข้งาน และตามลักษณะเทคนิคการทำ






อาคารจัดแสดงหลังใหม่ อาคารหลังใหม่แบบไตใหญ่ ข้างในบรรจุพระพุทธรูปปางต่างๆ มากมายสวยงาม หนึ่งเดียวประเมินค่ามิได้




ถ้ำแห่งวัตถุโบราณ ถ้ำที่บรรจุวัตถุโบราณไว้ภายใน ตกแต่งอย่างวิจริร สวยงาม ล้ำค่ายิ่งนัก 







อูบคำ 
ทำจากไม้ไผ่นำมาสานขัดกันจากนั้นจึงลงรักปิดทอง อูบมีหลายขนาด เป็น ภาชนะสำหรับใส่อาหารสำหรับพระมหากษัตริย์และพระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่



The 'Oub Kham', a golden bowl used by members of the royalty, is a masterpiece; so is the golden throne of Chiang Tung (the present Keng Tung in the easternmost Shan State in Burma).


 
อัตราค่าเข้าชม
คนไทย ผู้ใหญ่ 200 บาท
              เด็ก 100 บาท
ต่างชาติ ผู้ใหญ่ 300 บาท
               เด็ก 200 บาท

Ticket Adult 300 Baht.
Kid 200 Baht.

ที่มา
http://www.oubkhammuseum.com/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น